กฏหมายน่ารู้

WEEE

Waste of Electrical and Electronic Equipment (WEEE) Directive
สหภาพยุโรป
04-07-2012
15-08-2018

เวอร์ชั่นแรก

  • เพื่อสามารถจัดการ e-waste ได้ปลอดภัยยิ่งขึ้น
  • เพื่อลดต้นทุนการจัดการซาก และรีไซเคิลวัสดุได้ง่ายขึ้น
  • เพื่อได้วัสดุรีไซเคิลที่มีพิษน้อยลง สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายยิ่งขึ้น
  • เพื่อลดอุปสรรคทางการค้า (จากการมีกฎหมายที่ไม่เท่าเทียมกัน)

เวอร์ชั่นใหม่

  • เหมือนเวอร์ชั่นแรก และปรับกลไก/วิธีคิดเพื่อลดอุปสรรคตามที่พบในเวอร์ชั่นแรก

เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 10 ประเภทที่นำเข้าตลาดอียู ไม่ว่าจะเป็นการขายด้วยวิธีใด

เวอร์ชั่นใหม่: เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 6 กลุ่ม (จัดกลุ่มใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพการทำธุรกิจรีไซเคิลมากขึ้น)

ผู้ผลิตต้อง

  • รับคืนสินค้าที่หมดอายุแล้วโดย “ไม่คิดมูลค่า”
  • รับผิดชอบภาระ ในการจัดการ WEEE
  • ให้ข้อมูลที่จำเป็น แก่ผู้ใช้สินค้า, Recyclers, และรัฐบาล

เพิ่มเติมในเวอร์ชั่นใหม่:

  • ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในสายโซ่การจัดจำหน่ายต้องมีบทบาทในการรับคืนซากสินค้า
  • ข้อกำหนดเพื่อสนับสนุนสินค้าที่ออกแบบเพื่อการใช้ซ้ำ/รีไซเคิล/นำทรัพยากรที่มีค่ากลับคืน
  • ปรับปรุงข้อกำหนดด้าน การเก็บคืน  ขนส่ง  ถอดชิ้นส่วน เพื่อนำไปสู่การใช้ซ้ำ/รีไซเคิล/นำทรัพยากรที่มีค่ากลับคืน
  • ห้ามผู้ผลิต ใช้เทคนิคต่างๆ ในการปิดกั้นการนำเครื่อง/ชิ้นส่วน กลับมาใช้ซ้ำ

กำหนดให้ผู้ผลิตต้องให้ข้อมูล รายการชิ้นส่วนและวัสดุต่างๆ ที่มีในสินค้า และตำแหน่งที่มีสารอันตราย แก่ ‘Recyclers’

เป้าหมายการนำทรัพยากรกลับคืนและการรีไซเคิล ตามระเบียบ WEEE ฉบับใหม่

ประเภทผลิตภัณฑ์

Recovery*

Recycle*

Phase I

II

Phase I

II

เครื่องใช้ในครัวเรือนขนาดใหญ่ หรือ เครื่องจำหน่ายสินค้าอัตโนมัติ

80

85

75

80

สินค้า IT (คอมฯ โทรศัพท์ …)

และ Consumer equipment (TV, วิทยุ เครื่องเสียง เครื่องเล่นวีดีโอ ฯลฯ)

75

80

65

70

เครื่องใช้ในครัวเรือนขนาดเล็ก

อุปกรณ์ให้แสงสว่าง

เครื่องมือไฟฟ้า

ของเล่น

เครื่องมือแพทย์

เครื่องมือวัด

70

75

50

55

Gas Discharge Lamp

-

80

หมายเหตุ: (*) % ต่อน้ำหนักซากที่เก็บรวบรวมมาได้

Located in: Regulation
© 2023 ThaiRoHS.org. All Rights Reserved.